วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
-ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
-เมื่อเราจะเรียกตัวเลขให้เด็กฟังเราควรพูดให้เป็นความเคยชินว่า
เลขฮินดูอารบิก
เพื่อให้เด็กรู้ว่าตัวเลขแบบที่เราใช้กันส่วนใหญ่นั้นเรียกว่า
เลขฮินดูอารบิก
-เด็กแต่ละคนควรมีบัตรภาพและเขียนชื่อเด็กไว้ด้วยเพื่อเป็นตัวแทนของตัวเด็กเอง
-เด็กอายุ
3
ขวบจะนับตัวเลขตามได้แต่ก็ยังไม่เข้าค่อยเข้าใจเท่าไรนัก
-เมื่อจะสอนเด็กนับเลขหลักหน่วยควรสอนให้เด็กนับ
เช่น
มีอยู่ 1 เพิ่มมาอีก1 เป็น 2
มีอยู่ 2 เพิ่มมาอีก 1 เป็น
3
มีอยู่ 3 เพิ่มมาอีก 1 เป็น 4
มีอยู่ 4 เพิ่มมาอีก 1 เป็น 5
เป็นต้น
-เมื่อจะสอนเด็กนับเลขหลักสิบควรสอนให้เด็กนับ เช่น
10 กับอีก 1
เป็น 11
10 กับอีก 2 เป็น 12
10 กับอีก 3 เป็น 13
10 กับอีก 4 เป็น
14
10 กับอีก 5 เป็น 15
-การบูรณาการมี 2
ลักษณะ
1.การบูรณาการที่เป็นเนื้อเดียวกัน
2.การบูรณาการที่แยกส่วน
-อาจารย์ให้ฟังเพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
1.เพลงกบกระโดด
นับ
1 เป็นกบกระโดด
นับ 2 ว่ายน้ำเป็นปลา
นับ 3 วิ่งควบเหมือนม้า
นับ 4
บินเหมือนผีเสื้อ
2.เพลงแมลงปอ
เจ้าแมลงปอบินมา 1 ตัว
บินแล้วก็หมุนไปรอบตัว
บินไปทางซ้าน
บินไปทางขวา
บินไปข้างหลังและก็บินไปข้างหน้า
-ครูปฐมวัยควรแต่งเพลงได้และต้องมีจุดมุ่งหมาย
เกมการศึกษา
1.การศึกษารายละเอียดของภาพ
(ลอตโต้)
2.ความสัมพันธ์ 2 แกน - ทิศทาง
3.โดมิโน -
การต่อกันโดยใช้ปลายบนหรืล่างให้สีเหมือนกัน
4.จิ๊กซอหรือภาพตัดต่อ
5.จับคู่
6.เรียงลำดับเหตุการณ์
- สิ่งที่เกิดก่อนหลังซึ่งมีความเชื่อมโยงกันอย่างต่ดเนื่อง
7.อนุกรม - เป็นชุด
เช่น ภาพเดียวกันแต่มีขนาดเล็ก กลาง ใหญ่
8.อุปมา อุปไมย -
ถ้าเห็นสีขาวจะนึกถึงสำลี ถ้าเห็นสีดำนึกถึงอีกา
-
เมื่อเราจะเข้าสู่การเสริมประสบการณ์เราควรใช้
1.นิทาน
2.เพลง
3.คำคล้องจอง
4.เกมการศึกษา
5.กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
6.กิจกรรมศิลปะ
7.กิจกรรมกลางแจ้ง
8.กิจกรรมเสรี
งาน
แบ่งกลุ่ม 5 คน
สร้างหน่วย 1 หน่วยและจากหน่วยนั้นจะสะท้อนอะไรบ้างกับคณิตศาสตร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น